หน้าแรก:คำแนะนำและวิธีการใช้งานบทเรียน
ขอบข่ายเนื้อหา
เรื่องที่ 1 ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
เรื่องที่ 2 การวิเคราะห์ปัญหา

 

เรื่องที่ 3 ผังงาน
เรื่องที่ 4 ลักษณะโครงสร้างผังงาน
เรื่องที่ 5 ซูโดโค้ด
เรื่องที่ 6 ภาษาคอมพิวเตอร์
เรื่องที่ 7 โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
เรื่องที่ 8 การติดตั้งโปรแกรมภาษาซี
เรื่องที่ 9 ตัวแปรภาษาซี
เรื่องที่ 10  ตัวดำเนินการในภาษาซี
แหล่งเรียนรู้เพิ่มเติม
ผู้จัดทำ
 
 
 
 
 
 
 

 


 

                             สาระการเรียนรู้
 

   2.1 การวิเคราะห์ปัญหา

 

   2.2 ตัวอย่างการวิเคราะห์ปัญหา

 

   2.3 ประโยชน์ที่ได้รับจากขั้นตอนวิเคราะห์ปัญหา

 

 

 

 

 

ตัวอย่างที่ 1

              จงวิเคราะห์งานในการหาพื้นที่ของสี่เหลี่ยมผืนผ้า โดยการรับข้อมูลความกว้างและ
ความยาวเข้ามาทางแป้นพิมพ์ (Keyboard) และผลลัพธ์ที่ต้องการแสดงคือความกว้าง (Width)
ความยาว (Length) และพื้นที่ (Area) โดยแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกทางจอภาพ (Monitor)



ตัวอย่างที่ 2

              จงวิเคราะห์งานในการคำนวณเกรด วิชาการเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ ที่ได้จาก
ข้อมูลคะแนนเก็บ คะแนนสอบกลางภาค และคะแนนสอบปลายภาค โดยการป้อนข้อมูลเข้าทาง
แป้นพิมพ์ (Keyboard) แล้วทำการรวมคะแนนดังกล่าว และนำคะแนนรวมที่ได้ไปเปรียบเทียบกับ
เงื่อนไขเพื่อคำนวณหาเกรด
              โดยผลลัพธืนั้นให้แสดง รหัสนักเรียน ชื่อนักเรียน คะแนนเก็บ คะแนนกลางภาค คะแนน
ปลายภาค คะแนนรวมและเกรดที่ได้
              มีเงื่อนไขในการคำนวณเกรด  ดังนี้

ช่วงคะแนน

เกรด

80  ขึ้นไป
75 - 79
70 - 74
65 - 69
60 - 64
55 - 59
50 - 54
ต่ำกว่า 50

4
3.5
3
2.5
2
1.5
1
0



ตัวอย่างที่ 3

              จงวิเคราะห์ปัญหาหาค่าเฉลี่ยของอุณหภูมิประจำวัน โดยรับค่าอุณหภูมิอุณหภูมิสูงสุดและต่ำสุดเป็นเลขจำนวนเต็มเข้าไปและให้แสดงค่าอุณหภูมิเฉลี่ยออกทางจอภาพ



ตัวอย่างที่ 4

              เขียนแนวทางการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ สำหรับให้คอมพิวเตอร์คำนวณค่าจ้างพนักงานเป็น รายชั่วโมง จากนั้นแสดงค่าจ้างที่คำนวณได้



ตัวอย่างที่ 5

              จงเขียนแนวทางการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ในการหาปริมาตรทรงกระบอก และแสดงค่าปริมาตรที่คำนวณได้





              1. ได้ฝึกคิดวิเคราะห์ และลำดับวิธีแก้ปัญหา ช่วยในการออกแบบโปรแกรมอย่างเป็นระบบ
              2.เวลาเขียนโปรแกรม สามารถช่วยให้เกิดลำดับของการเขียนโปรแกรมอย่างเป็นลำดับขั้นตอน จากโปรแกรมที่ซับซ้อนก็สามารถเขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น
              3.สามารถไปประยุกต์ใช้กระบวนการทำงาน IPO ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน ช่วยให้เราแก้ปัญหาที่เราเผชิญอย่างมีระบบและขั้นตอน ผ่านพ้นปัญหาต่างๆเหล่านั้นไปได้